ศาลแม่นาคพระโขนง วัดมหาบุศย์ จังหวัดกรุงเทพฯ ก็เป็นอีกหนึ่งสถานที่ขอหวย และ ขอพรโชคลาภที่คนไทยนิยมไปกราบไหว้กัน และบังเป็น สถานที่ขอหวยใกล้กรุงทพ ที่มีตำนานกล่าวขานกันมานาน วัดมหาบุศย์ เชื่อว่าเป็นวัดที่ใช้ฝังศพแม่นาคนั้นเองครับ โดยมีชื่อเรียกที่คุ้นเคยคือ วัดแม่นาคพระโขนง ตั้งอยู่แขวงพระโขนง เขตพระโขนง กทม. นั้นเองครับ
ในส่วนของแม่นากพระโขนง หรือที่เพื่อนๆนั้นมักเรียกสั้น ๆ ว่า แม่นาก นั้นเอง เป็นผีตายทั้งกลมที่เป็นที่รู้จักกันดีของไทย และได้เชื่อกันว่าเรื่องของนางเกิดขึ้นจริงในสมัยรัชกาลที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ปัจจุบันมี ศาลแม่นากตั้งอยู่ที่ วัดมหาบุศย์ เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร นั้นเองครับ
ใสส่วนของวิธี การขอพรย่านาค นั้นก็คือทางศาลมีชุดสำหรับไหว้ไว้จุดธูป 2 ดอก เทียน 1 เล่ม เลือกพวงมาลัยหรือดอกไม้ จุดธูป เทียนด้านล่างของศาลแล้วถึงขึ้นไปแปะแผ่นทองที่ย่านาคด้านบนนั้จนเองครับ แต่ มีข้อห้ามสำหรับไหว้ย่านาค ด้วยนะครับ โดยมีดังต่อไปนี้
• ข้อที่ 1 ห้าม ปิดทองที่ใบหน้า ที่ดวงตา และริมฝีปาก
• ข้อที่ 2 ห้าม เทน้ำมันจันที่องค์ย่านาค ให้ปิดทองขอพรย่านาคที่ฝ่ามือ
• ข้อที่ 3 ห้าม พรมน้ำอบ และรดน้ำย่านาค
ในส่วนของประวัติวัดมหาบุศย์ นี้ก็เป็นวัดโบราณ สร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย เมื่อประมาณ พ.ศ. 2305 เลยทีเดียวก่อนเสียกรุงเก่าพม่าเมื่อ 5 ปีก่อน และได้ เล่ากันว่าชื่อเดิมของ วัดมหาบุศย์ ชื่อว่า “วัดสามบุตร”กล่าวคือ บุตรชาย สามคนพี่น้องร่วมกันสร้างขั้น และเข้าใจว่าเสนาสนะสิ่งก่อสร้างในวัดในขณะนั้นคงจะเป็นเครื่องไม้เสียเป็นส่วนมาก ซึ่งเป็นวัสดุที่ไม่คงทนครั้งกาลต่อมามีสภาพเป็นวัดร้างนั้นเองครับ
และต่อมาเมื่อพระมหาบุตร เปรียญ 5 ประโยค สำนักวัดเลียบ (และในเวลาต่อมาในรัชกาลที่ 1 พระราชทานนามใหม่ ที่มีนามว่า “วัดราชบุรณะ”) นั้นเองครับ กรุงเทพมหานคร ได้มาเยี่ยมญาติโยมของท่านซึ่งมีภูมิลำเนาอยู่ในลำคลองพระโขนง ในเวลานั้น บรรดาชาวบ้านพระโขนงจึงได้พร้อมใจกันนิมนต์ให้ท่านอยู่วัดสามบุตร เพื่อช่วยเป็นผู้นำในการบูรณะวัดสามบุตร หรือ จะเรียกว่าสร้างวัดใหม่ทั้งวัดก็น่าจะได้นะครับ
ในเวลาต่อมาเมื่อการสร้างหรือการบูรณะปฏิสังขรณ์วัดเสร็จเรียบร้อยแล้ว ชาวบ้านจึงเปลี่ยน นามวัดใหม่จาก “วัดสามบุตรเป็นวัดมหาบุตร” นี้ ตามนามของพระมหาบุตร และ ภายหลังได้เปลี่ยนแปลงไปตามความเจริญของภาษาไทย จึงได้เขียนชื่อวัดเป็นทางราชการว่า วัดมหาบุศย์ ดังที่เพื่อนๆ ได้เห็นและใช้อยู่ตราบจนในปัจจุบันนี้นั้นเอง แต่ยังมีประชาชนนิยมเรียกอีกนาม หนึ่งว่า “วัดแม่นาคพระโขนง” นั้นเอง ทั้งนี้เห็นจะเป็นด้วยอิทธิพลของวรรณกรรมเรื่อง นาคพระโขนงวัดมหาบุศย์ ตามประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร ฉบับกรมการศาสนาจัดพิมพ์ ตอนหนึ่งว่า
วัดมหาบุศย์ แห่งนี้มีฐานะเป็นสำนักสงฆ์อยู่หลายปีด้วยกัน ตราบถึงประมาณปี พ.ศ. 2455 เลยทีเดียว และในช่วงต้นรัชกาลที่ 6 นั้น จึงได้มีการบูรณะสังฆเสนาสนะขึ้นอีกด้วย โดยได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา ในวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2459 นั้นเอง และ ได้มีเขตวิสุงคามสีมากว้าง 2 เส้น ยาว 2 เส้น7 วา ครั้นถึง พ.ศ. 2470 อุโบสถหลังที่สร้างเมื่อ ปี พ.ศ. 2459 นั้นก็ได้ชำรุดทรุดโทรม เป็นอย่างมาก จึงได้ทำการรื้อออกแล้วก่อสร้างขึ้นใหม่กว้าง 20 เมตร ยาว 23 เมตร หน้าบัสลักเป็นลายกนกไทยรูปพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ นั้นเองครับ และได้ทำหลังคาสองชั้นลด ถึงพ.ศ. 2500 ทางวัดได้ทำการบูรณะใหม่ เปลี่ยนกระเบื้องเป็นกระเบื้องเคลือบสี เปลี่ยนช่อฟ้าใบระกาหงส์และหน้าบันใหมทั้งหมด เสร็จเรียบร้อยแล้วได้เชิญ ฯพณฯ จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นมาเป็นประธานพิธียกช่อฟ้าวัดมหาบุศย์กับแม่นาคพระโขนง นั้นเองครับ
ในส่วนของ เรื่องเล่าของ แม่นาค นี้ก็ได้มีสามีภรรยาหนุ่มสาวคู่หนึ่ง อาศัยอยู่ด้วยกันที่ย่านพระโขนง สามีชื่อนายมาก ส่วนภรรยานั้นชื่อว่านางนาก ทั้งสองใช้ชีวิตคู่ร่วมกันจนนางนากตั้งครรภ์อ่อน ๆ นายมากก็มีหมายเรียกให้ไปเป็นทหารประจำการที่บางกอกนั้นเอง และ นางนากจึงต้องอยู่ตามลำพังและเวลาก็ได้ผ่านไป ท้องของนางนากก็ยิ่งโตขึ้นเรื่อยๆ จนครบกำหนดคลอด หมอตำแยก็มาทำคลอดให้ ทว่าลูกของนางนากไม่ยอมกลับหัวนั้นเอง และนั้นจึงไม่สามารถคลอดออกมาตามธรรมชาติ ยังผลให้นางนากเจ็บปวดเป็นยิ่งนัก และในที่สุดนางนากก็ทานความเจ็บปวดไว้ไม่ไหว สิ้นใจไปพร้อมกับลูกในท้อง กลายเป็นผีตายทั้งกลมหลังจากนั้นเป็นต้นมา
และศพของนางนากก็ได้ถูกนำไปฝังไว้ยังป่าช้าท้ายวัดมหาบุศย์นั้นเองครับ และ ส่วนนายมากเมื่อปลดประจำการแล้วก็กลับจากบางกอกมายังพระโขนงโดยที่ยังไม่ทราบความว่าเมียของตนนั้นได้เสียชีวิตไปแล้ว นายมากกลับมาถึงในเวลาเข้าไต้เข้าไฟพอดี จึงไม่ได้พบชาวบ้านเลยนั้นเอง เนื่องจากบริเวณบ้านของนางนาก หลังจากที่นางนากตายไปก็ไม่มีใครกล้าเข้าใกล้เพราะกลัวผีนางนากนั้นเอง ซึ่งต่างก็เชื่อกันว่าวิญญาณของผีตายทั้งกลมนั้นเฮี้ยน และมีความดุร้ายเป็นยิ่งนักครั้นเมื่อนายมากกลับมาอยู่ที่บ้านแล้ว ผีนางนากก็คอยพยายามรั้งนายมากให้อยู่ที่บ้านตลอดเวลา ไม่ให้ออกไปพบใครนั้นเองครับ
นั้นก็เพราะเกรงว่านายมากจะรู้ความจริงว่าตนนั้นได้ตายไปลอว้จากชาวบ้าน นั้นเอง และ นายมากก็เชื่อเมีย เพราะรักเมียมาก ไม่ว่าใครที่มาพบเจอนายมากจะบอกนายมากอย่างไร นายมากก็ไม่เชื่อว่าเมียตัวเองตายไปแล้วนั้นเอง เพราะรักจึงยอมทุกอย่าง จนวันหนึ่งขณะที่นางนากตำน้ำพริกอยู่บนบ้าน นางนากทำมะนาวตกลงไปใต้ถุนบ้าน ด้วยความรีบร้อน นางจึงเอื้อมมือยาวลงมาจากร่องบนพื้นเรือนเพื่อเก็บมะนาวที่อยู่ใต้ถุนบ้านนั้นเอง ซึ่งบังเอิญเป็นอย่างมากเพราะนายมากขณะนั้น บังเอิญผ่านมาเห็นพอดี จึงปักใจเชื่ออย่างเต็มร้อย ว่าเมียตัวเองเป็นผีตามที่ชาวบ้านว่ากันนายมากวางแผนหลบหนีผีนางนาก นับจากนั้นมา
โดยในส่วนของการแอบหนีของนายมากนั้นก็จะเจาะตุ่มใส่น้ำให้รั่วแล้วเอาดินอุดไว้ ตกกลางคืนทำทีเป็นไปปลดทุกข์เบา แล้วแกะดินที่อุดตุ่มไว้ให้น้ำไหลออกเหมือนคนปลดทุกข์เบา นั้นเองครับ และจากนั้นจึงแอบหนีไป นางนากเมื่อเห็นผิดสังเกตจึงออกมาดู ทำให้รู้ว่าตัวเองโดนหลอก จึงตามนายมากไปทันที และนายมากเมื่อเห็นผีนางนากตามมาจึงหนีเข้าไปหลบอยู่ในดงหนาด นางนากไม่สามารถทำอะไรได้เพราะผีนั้นกลัวใบหนาดเป็นอย่ามาก และ นายมากหนีไปพึ่งพระที่วัด นางนากไม่ลดละพยายาม ด้วยความที่เจ็บใจชาวบ้านที่คอยยุแยงตะแคงรั่วผัวตัวเองอีกประการหนึ่งนั้นก็ได้
ทำให้นางนากนั้นออกอาละวาดหลอกหลอนชาวบ้านจนหวาดกลัวกันไปทั้งบางนั้นเองครับ และความเฮี้ยนของนางนากนั้นก็ไม่ได้หยุดเท่านั้น เพราะ ส่วนหนึ่งเกิดจากการที่ถูกฝังไว้ระหว่างต้นตะเคียนคู่นั่นเอง ในที่สุด นางนากก็ถูกหมอผีฝีมือดีจับใส่หม้อถ่วงน้ำ จึงสงบไปได้พักใหญ่จนกระทั่งตายายคู่หนึ่งที่ไม่รู้เรื่องเพิ่งย้ายเข้ามาอยู่ในหมู่บ้านแห่งนี้ใหม่ เก็บหม้อที่ถ่วงนางนากได้ขณะทอดแหจับปลา นางนากจึงถูกปลดปล่อยออกมาอีกครั้ง
แต่สุดท้ายแล้วนางนาคก็ได้ถูกสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) นั้นสยบลงได้ กะโหลกศีรษะส่วนหน้าผากของนางนากนั้นก็ได้ถูกเคาะออกมาทำหัวปั้นเหน่ง เพื่อเป็นการสะกดวิญญาณนั้นเอง และ ทำให้นางนากนั้นไปสู่สุคติ หลังจากนั้น ปั้นเหน่งชิ้นนั้นก็ตกทอดไปยังเจ้าของอื่น ๆ อีกหลายมือ ตำนานรักของนางนาก นั้นก็นับได้ว่าเป็นอีกหนึ่งตำนานรักอีกเรื่องหนึ่งที่ประทับใจผู้ฟังอย่างไม่รู้จบ กับความรักที่มั่นคงของนางนากที่มีต่อสามีนั้นเอง ที่แม้แต่ความตายก็มิอาจพรากหัวใจรักของนางไปได้ นั้นเองครับเป็นไงบ้างครับเมื่อเพื่อนๆนนั้นได้อ่านจบไป จากความที่แอดนั้นได้อ่านไปก็ถือว่า แอดนั้นซึ้งเป็นอย่างมาก ใจหนึ่งก็รัก ใจหนึ่งก็กลัว เอาเป็นว่า แอดประทับใจเป็นอย่างมากกับบนความครังนี้ที่แอดนั้นได้เขียนไป
และทั้งหมดนี้ก็คือ ศาลแม่นาคพระโขนง วัดมหาบุศย์ จังหวัดกรุงเทพฯ ที่ทาง JC หวยออนไลน์ นั้นได้รวบรวมมาเป็นข้อมูล เพื่อที่จะให้ผู้เล่นที่ต้องการนำสิ่งนี้ไปเป็นแนวทางการเล่น เกมสล็อต นั้นได้ศึกษา และ นำไปปรับใช้ ในการเล่นเกมสล็อตครั้ง ต่อ ๆ ไป ซึ่งเราก็หวังเป็นอย่างยิ่ง ว่าสิ่งที่เรานำเสนอไป จะเป็นประโยชน์กับการเล่น เกมสล็อต ของท่านไม่มาก็น้อย ครับ
อ่านบทความเพิ่มเติวเกี่ยวกับหวยออนไลน์ได้ที่ อ่านบทความเพิ่มเติม…